วันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

วงจร Power-Off หน่วงเวลารีเลย์


ในวงจรด้านบนนี้เป็นวงจร Power-Off สำหรับหน่วงเวลารีเลย์ มันทำงานยังไง
ขออธิบายแบบภาษาบ้านๆเลยละกันครับ

 Power-Off หน่วงเวลารีเลย์  ก็คือการหน่วงเวลาให้กับรีเลย์หลังจากที่ Coil รีเลย์อยู่ในสถานะ Off แล้วนั่นเอง แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรล่ะว่าหน่วงเวลานานแค่ไหนต้องใช้ค่า C เท่าไหร่


ในการทำงานของวงจร จะหน่วงเวลา เมื่อ R = 3.6K ,C = 1000 uF ประมาณ 15 วินาที
ตามวงจรด้านขวามือนะครับ

ตัวอย่างการคำนวณ
ค่าความต้านทาน Coil = 120 ohm relay coil กระแส 100 mA at 12 volts
ทรานซิสเตอร์มีอัตราขยาย = 30, กระแส IB = 100mA/30(อัตราขยาย) = 3 mA.
ต้องการป้อนแรงดัน 12 V เข้ามาจะเท่ากับ = 12 (Vin) -1.4 (D+D transistor)= 10.6V
ตัวต้านทาน ที่ได้ R = 10.6/0.003 = 3533 หรือ 3.6 K
กำหนดเวลาหน่วงคือ 15 วินาที = 15/3R = 1327 uF. (เลือกค่าใช้ 1000 uF)

วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

วงจร 6 to 12 V Converter



R1, R4             2 .2K 1/4W Resistor
R2, R3             4.7K 1/4W Resistor
R5                   1K 1/4W Resistor
R6                   1.5K 1/4W Resistor
R7                   33K 1/4W Resistor
R8                   10K 1/4W Resistor
C1,C2             0.1uF Ceramic Disc Capacitor
C3                   470uF 25V Electrolytic Capcitor
D1                  1N914 Diode
D2                  1N4004 Diode
D3                  12V 400mW Zener Diode
Q1, Q2, Q4    BC547 NPN Transistor
Q3                  BD679 NPN Transistor
L1                   See Notes


Notes
1. L1 is a custom inductor wound with about 80 turns of 0.5 mm. magnet wire around a toroidal core with a 40 mm. outside diameter.

2. Different values of D3 can be used to get different output voltages from about 0.6V to around 30V. Note that at higher voltages the circuit might not perform as well and may not produce as much current. You may also need to use a larger C3 for higher voltages and/or higher currents.

3. You can use a larger value for C3 to provide better filtering.

4. The circuit will require about 2A from the 6V supply to provide the full 800mA at 12V.

วันเสาร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

วงจร DC to AC ด้วยไอซี 555


    นี้เป็นวงจร AC อินเวอร์เตอร์ขั้นพื้นฐาน สะดวกสำหรับผู้ที่ริเริ่ม จะต้องเป็นที่ชื่นชอบมากสำหรับผู้ที่ต้องการประสบการณ์ในด้านนี้ 

   มาดูการทำงานกันเลยครับ เริ่มจากไอซี 555 ผลิตความถี่แล้วขยายด้วยทรานซิสเตอร์ NPN และ PNP เบอร์ TIP41 และ TIP42 ขับหม้อแปลง ให้สามารถจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่ส่งออกไป 120V - 230V 50Hz  โดยมี R4 ทำหน้าที่ควบคุมความถี่
Powersupply 5V - 15V